การจัดการผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสีย ในห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจ

sustainability managing impact

การจัดการผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้เสียในห่วงโซ่คุณค่าของธุรกิจ

บริษัทกาหนดห่วงโซ่คุณค่า กระบวนการในการดำเนินงานในแต่ละห่วงโซ่คุณค่า และผู้มีส่วนได้เสียในแต่ละห่วงโซ่คุณค่า เพื่อดำเนินการจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างรับผิดชอบ โดยมีจุดประสงค์เพื่อผู้มีส่วนได้เสียในห่วงโซ่อุปทานมีการปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ จรรยาบรรณ ข้อตกลงระหว่างกันอย่างถูกต้องครบถ้วน ซึ่งหมายความรวมถึง การดำเนินธุรกิจอย่างมีธรรมภิบาลที่ดี สนับสนุนและพัฒนาพนักงานในองค์กรอย่างเท่าเทียม ไม่ดำเนินธุรกิจที่มุ่งเน้นแค่การแสวงหากำไร แต่ยังต้องมีความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม

ธุรกิจการผลิตและจำหน่ายน้ำประปาและน้ำดื่ม
เพื่อการบริโภค
  1. แหล่งน้ำดิบและสถานที่เก็บแหล่งน้ำดิบ
  2. โรงสูบน้ำดิบและกระบวนการผสมสารเคมี
  3. กระบวนการตกตะกอนและการกรอง
  4. การจัดเก็บน้ำใสที่ตรงตามคุณภาพและมาตราฐาน
  5. การสูบจ่ายน้ำประปาเพื่อการบริโภคไปยังครัวเรือน
ธุรกิจผลิตและจำหน่ายเม็ดพลาสติก
  1. รับคำสั่งซื้อ
  2. กระบวนการจัดหาและจัดเก็บวัตถุดิบ
  3. ดำเนินการผลิต
  4. สินค้าสำเร็จรูป

OVERALL VALUE CHAIN

overall value chain
1.

Inbound Logisticsการจัดซื้อจัดจ้าง

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
พนักงาน, คู่ค้า, ลูกค้า

2.

Production & Operationการผลิต & การควบคุม
คุณภาพสินค้า

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
พนักงาน, คู่ค้า, ลูกค้า

3.

Outbound Logistics
& Serviceการส่งมอบสินค้าและการบริการ

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
พนักงาน, คู่ค้า, ลูกค้า

Support Activities
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • นโยบายและกลยุทธ์ความยั่งยืน
  • การบริหารความเสี่ยงด้านความยั่งยืน
  • การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน
  • การพัฒนาคุณภาพสินค้าและการบริการ
  • การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
  • การจัดการพลังงาน
  • การจัดการน้ำ
  • การจัดการขยะ และของเสีย
  • การจัดการ ก๊าซเรือนกระจก
  • สิทธิมนุษยชน
  • การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม
  • ความรับผิดชอบต่อลูกค้า/ผู้บริโภค
  • ความรับผิดชอบต่อชุมชน/สังคม

ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย: ผู้ถือหุ้น, เจ้าหนี้, พนักงาน, คู่ค้า, ลูกค้า, คู่แข่ง, ชุมชนและสังคม

การระบุประเด็นสำคัญและจัดลำดับความสำคัญด้านความยั่งยืน
(Materiality Identification & Assessment)

บริษัทประเมินและจัดลาดับประเด็นการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามประเด็นที่ผู้มีส่วนได้เสียทั้งภายในและภายนอกให้ความสาคัญและพิจารณาร่วมกับปัจจัยความเสี่ยงและประเด็นความยั่งยืนของบริษัทตลอดห่วงโซ่คุณค่าทั้งนี้ในปี 2566 มีประเด็นที่มีความสาคัญทั้งสิ้น 14 เรื่องครอบคลุมในด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อม

แผนภาพการจัดประเด็นความสาคัญด้านความยั่งยืน
(Materiality Identification & Assessment)

ระดับความสนใจ / ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  • การจัดการขยะ และของเสีย
  • การจัดการพลังงาน
  • การจัดการน้ำ
  • ความรับผิดชอบต่อลูกค้า/ผู้บริโภค
  • การกำกับดูแลกิจการที่ดี
  • การบริหารความเสี่ยงด้านความยั่งยืน
  • การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน
  • การพัฒนาคุณภาพสินค้าและการบริการ
  • การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม
  • นโยบายและการปฏิบัติตามมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม
  • การจัดการ ก๊าซเรือนกระจก
  • ความรับผิดชอบต่อชุมชน/สังคม
  • นโยบายและกลยุทธ์ความยั่งยืน
  • สิทธิมนุษยชน

ระดับความสำคัญต่อเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

กรอบการจัดการบริหารประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืน

บริษัทรวบรวมและจัดลาดับความสาคัญของประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืนมีความสัมพันธ์กับการดาเนินธุรกิจ โดยอ้างอิงตามแนวทางมาตรฐานสากลและใช้กระบวนการมีส่วนร่วมเข้ามาดาเนินการจัดลาดับความสาคัญของประเด็นการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อให้สามารถบริหารจัดการประการพัฒนาที่ยั่งยืนได้อย่างเหมาะสม

ขอบเขตของผลกระทบของประเด็นความยั่งยืนต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

ประเด็นความยั่งยืน ขอบเขตของผลกระทบ (Impact boundary) SDG goals
ภายในองค์กร ภายนอกองค์กร
บริษัท พนักงาน ผู้ถือหุ้น คู่ค้า ลูกค้า ชุมชนและ
สังคม
มิติธรรมาภิบาล
และเศรษฐกิจ
การกากับดูแลกิจการที่ดี remark remark remark remark remark remark 6, 9,
12, 16
นโยบายและกลยุทธ์ความยั่งยืน remark remark remark remark remark remark
การบริหารความเสี่ยงด้านความยั่งยืน remark remark remark remark remark
การจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน remark remark remark remark
การพัฒนาคุณภาพสินค้าและการบริการ remark remark remark remark
มิติสิ่งแวดล้อม นโยบายและการปฏิบัติตามมาตรฐานการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม remark remark remark remark remark 6, 12,
13, 15
การจัดการพลังงาน remark
การจัดการน้า remark
การจัดการขยะ และของเสีย remark remark remark
การจัดการ ก๊าซเรือนกระจก remark remark remark remark remark remark
มิติสังคม สิทธิมนุษยชน remark remark 2, 4, 5,
6, 8, 15
การปฏิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม remark remark remark remark remark remark
ความรับผิดชอบต่อลูกค้า/ผู้บริโภค remark remark
ความรับผิดชอบต่อชุมชน/สังคม remark remark remark